[Analytical] สารละลายบัฟเฟอร์

สารละลายบัฟเฟอร์ หัวข้อนี้อยู่ในเนื้อหาเรื่อง กรด-เบส ระดับชั้น ม.5 เทอม 1 ซึ่งเด็กๆส่วนใหญ่จะบอกว่าค่อนข้างยาก (มันก็ค่อนข้างยากจริงๆแหละ ใช่มั้ย ? 555555) เพราะฉะนั้นครูหวังว่าโพสนี้จะช่วยเด็กๆทุกคนทำความเข้าใจกับมันได้ง่ายขึ้นนะครับ 😀 🙂
#BufferSolution #AcidBase #Chemiis #Chemistry #Education

[Inorganic,Organic] พันธะไฮโดรเจนในสารประกอบอินทรีย์

พันธะไฮโดรเจนในสารประกอบอินทรีย์ ผสานพลังแห่งสองศาสตร์ 555 โดยปกติแล้วเด็กๆ จะเจอเนื้อหาเรื่องพันธะไฮโดรเจนใน ม.4 หลังจากนั้นจะทิ้งช่วงยาว และเจอเนื้อเรื่องเคมีอินทรีย์อีกทีในระดับชั้น ม.6 โดยเนื้อหาทั้งสองเรื่องนี้มีความสัมพันธ์กัน จึงอาจทำให้เกิดการลืมได้

ซึ่งเด็กๆควรแยกให้ออกระหว่าง พันธะโคเวเลนต์ และ พันธะไฮโดรเจน หวังว่าโพสนี้จะช่วยได้นะครับ 😀 😀
‪#‎Hydrogenbond‬ ‪#‎Organic‬ ‪#‎Chemiis‬

สไลด์1

สไลด์2

[Inorganic] พันธะไอออนิก

พันธะไอออนิก (Ionic Bond) เคมี ม.4 เทอม 1 สำหรับน้องม.3 ที่กำลังจะขึ้น ม.4 และ พี่ ม.5 ม.6 ใช้สำหรับเตรียมสอบนะครับ 😀 😀 ‪#‎Ionicbond‬ ‪#‎Chemistry‬ ‪#‎Chemiis‬

สไลด์1

สไลด์2

สไลด์3

[Physicalchem] ทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล

ทฤษฎีการชนกันของโมเลกุล (Collision Theory) เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมี ซึ่งอยู่ในเนื้อหาเรื่องอัตราการเกิดปฏิกิริยา หวังว่ากราฟฟิคชิ้นนี้จะช่วยให้เด็กๆทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้นนะครับ 😀

[Analytical] อินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ

อินดีเคเตอร์มหัศจรรย์แห่งสีสัน สามารถเปลี่ยนสีได้เมื่อเปลี่ยนแปลงค่า pH วันนี้ครูมีอินดีเคเตอร์ธรรมชาติมาฝาก โดยสามารถทดลองทำเองที่บ้านได้ง่ายๆ 😀 #Indicator #AcidBase #Chemistry #Chemiis

[Inorganic] โครงสร้างและประจุของอนุมูลกลุ่มที่ควรรู้

วันนี้มีเรื่องพื้นฐานมากๆของการเรียนวิชาเคมีมาฝากครับ นั่นคือ อนุมูลกลุ่มที่มีประจุ เพราะเด็กๆสามารถเจอโมเลกุลเหล่านี้ได้แทบจะทุกเรื่องของวิชาเคมี ฉะนั้นเราควรรู้สูตรและประจุของแต่ละโมเลกุล เพื่อให้ง่ายต่อการเรียนวิชาเคมีในเรื่องต่อๆไป ครูหวังว่ากราฟฟิคนี้จะช่วยให้เด็กๆจำและทำความเข้าใจได้มากขึ้นนะครับ 😊 #PolyatomicIon #Chemiis #Chemistry #Education #Graphic 

📌Note : Ammonium เป็นอนุมูลกลุ่มที่มีประจุบวก

[Organic] การอ่านชื่อสารประกอบแอลเคน (Alkane)

วันนี้มีการอ่านชื่อสารอินทรีย์ที่พื้นฐานที่สุดมาฝากครับ คือสารประกอบเอลเคน ซึ่งการอ่านชื่อตามระบบ IUPAC ของสารอินทรีย์จะมีโครงสร้างการอ่านคล้ายๆกัน หากรู้พื้นฐานของการอ่านชื่อ เมื่อเจอตัวอื่นๆก็จะง่ายมากครับ 😁
ครูหวังว่าโพสนี้จะช่วยให้เด็กๆทำความเข้าใจในการอ่านชื่อสารประกอบอินทรีย์ได้มากขึ้นนะครับ #IUPACName #Alkane #Organic #Chemiis

เฉลยแบบฝึกหัดนะครับ

1.) butane

2.) 2-methylpropane

3.) 3,6-diethylnonane

4.) 3-ethyl-4,4,8-trimethyldecane

5.) 3,3-dimethylhexane

6.) 3-ethyl-4-methylheptane

7.) methylcycloheptane

8.) 1,4-dimethylcyclooctane

9.) 1-ethyl-2-methylcyclopropane

10.) 5-ethyl-4-isopropyl-6-methyl-nonane

[Biochem] โครงสร้างพื้นฐานของ DNA

โครงสร้างพื้นฐานของ DNA เด็กๆต้องแยกให้ออกว่าส่วนประกอบแต่ละส่วนของ DNA มีอะไรบ้าง ยิงปืนนัดเดียวได้นกสองตัว เพราะเนื่อหามีอยู่ในวิชาชีววิทยาด้วยนะ ☺️🌱 #DNAstructure #Biochemistry #Chemiis #Education #Graphic 

[Inorganic] วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอม

วิวัฒนาการของแบบจำลองอะตอมตามลำดับไทม์ไลน์ น้องๆ ม.4 ที่กำลังเรียนโครงสร้างอะตอมอยู่ หรือพี่ๆที่ต้องการสรุป สามารถนำไปอ่านเพื่อทำความเข้าใจได้นะครับ 🌑 😁

❗️ระวัง ❗️แบบจำลองอะตอมของทอมสันที่มักเข้าใจผิด

ผิด : แบบจำลองอะตอมของทอมสันประกอบไปด้วยประจุบวกและประจุลบในจำนวนที่เท่ากันทำให้อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า

ถูก : แบบจำลองอะตอมของทอมสันประกอบไปด้วยเนื้ออะตอมที่เป็นประจุบวก และมีอิเล็กตรอนที่เป็นประจุลบกระจายอยู่ทั่วไป โดยประจุบวกและประจุมีขนาดของประจุเท่ากันทำให้อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า

แบบจำลองอะตอม